Page 38 - Mono Technology Public Company Limited : Annual Report 2014 TH
P. 38





ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน


ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขันธุรกิจสื่อ และการให้บริการข้อมูล


ธุรกิจบริการเสริมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่





ส่วนแบ่งการตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ร้อยละของมูลค่าตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

เปรียบเทียบไตรมาส 3 /2556 และไตรมาส 3/2557

ร้อยละ
OTHERS 0.7% 60.0 56.4

48.0 Q3/ 2556
50.0
Q3/ 2557
TRUE 24.3% AIS 46.5% 40.0 37.4

29.5 7.9
30.0

20.0
14.0 14.5
10.0
DTAC 28.5%
0
บริการเสียง บริการข้อมูล บริการอื่นๆ

ที่มา : รายงานสภาพตลาดโทรคมนาคม ปี 2557 ส�านักงาน กสทช. ที่มา : เว็บไซต์ส�านักงานกสทช.




ปี 2557 ประเทศไทยมีจ�านวนเลขหมายการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รวม 100.2 ล้านเลขหมาย และมีอัตราส่วน
จ�านวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากรรวม (Penetration rate) เท่ากับร้อยละ 149.6 เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ซึ่งมีอัตรา
อยู่ที่ร้อยละ 139.2 เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 10.4 โดยมีผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่หลัก 3 ราย คือ เอไอเอส ดีแทค และทรูมูฟ

มูลค่าตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ประกอบด้วย บริการเสียง (Voice) และบริการข้อมูล (Non-Voice) ใน

ปี 2555 ถึง 2556 ตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่มีมูลค่าตลาดรวม 175,626 ล้านบาทและ 188,333 ล้านบาท ตามล�าดับ
อัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 และในไตรมาส 3 ปี 2557 มีสัดส่วนการให้บริการด้านข้อมูลร้อยละ 37.4 ของมูลค่าตลาดรวม
เมื่อเทียบกับไตรมาส 3 ปี 2556 ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 29.5 เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 แม้ว่ามูลค่าตลาดรวมจะมีรายได้หลักมาจากการให้
บริการเสียง แต่การเติบโตของตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รวมเป็นผลมาจากแรงขับเคลื่อนของการให้บริการข้อมูลเป็นหลัก
ตลาดบริการข้อมูล มีสภาพการแข่งขันระดับปานกลาง มีผู้ให้บริการคอนเทนต์ขนาดเล็กจ�านวนมาก แต่จ�านวนผู้ให้บริการ

คอนเทนต์ขนาดใหญ่ที่มีส่วนแบ่งตลาดสูง และเป็นผู้น�าตลาด มีเพียงไม่กี่ราย โดยบริษัทถือเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการคอนเทนต์
ขนาดใหญ่ (Content Provider) ที่ผลิตสาระบันเทิงในรูปแบบต่างๆ มีระบบเชื่อมต่อให้บริการครบวงจรกับผู้ให้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่หลัก 3 ราย ซึ่งสามารถให้บริการลูกค้าครอบคลุมเลขหมายกว่าร้อยละ 99.3 ของจ�านวนเลขหมายทั้งหมด

การเติบโตของตลาดบริการข้อมูล เป็นผลมาจากการออกใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ส�าหรับกิจการโทรคมนาคม
เคลื่อนที่สากล ย่าน 2.1 GHz ท�าให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วใน

การรับส่งข้อมูล ส่งผลให้ความนิยมในการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน แท็บเล็ตมากขึ้น และจะเป็นช่องทางที่ท�าให้บริษัท
สามารถ พัฒนาบริการเสริมด้านข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นบริการบันเทิงออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ ที่จะตอบสนองทางเลือกให้แก่
ผู้บริโภคได้ในหลากหลายรูปแบบ ถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสในการขยายธุรกิจของผู้ให้บริการคอนเทนต์




38
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43